ศูนย์ปฏิบัติการธรณีพิบัติภัย กรมทรัพยากรธรณี สรุปสถานการณ์ วันที่ 28 มิถุนายน 2561 ณ เวลา 14.30 น.
การดำเนินงานตามแนวทางที่กรมทรัพยากรธรณีเสนอ
⛰พื้นที่ ก เจาะภายใต้ถ้ำขยายโพรง
- ประสานงานในพื้นที่
- หาข้อมูลจุดน้ำท่วม ระยะทางจากปากทางถ้ำ
- กำหนดจุดในแผนที่รวมมาร์ติน 1
- ระบายน้ำ (อ.สุทธิศักดิ์)
- ESRI จัดทำ cross section เพื่อหาความหนาของผนังถ้ำ เพื่อการเจาะแนวข้าง
- แซะเพดานถ้ำ
- ESRI จัดทำ cross section เพื่อหาความหนาของผนังถ้ำเพื่อการเจาะแนวข้าง
📃พื้นที่ ข ประสานงานในพื้นที่
- หย่อน bore hole camera เครื่องมือลงปล่อง ตชด.
- ESRI แปลภาพถ่าย เพื่อหาพื่นที่ที่มีโอกาสพบปล่องเพิ่มเติม
- ESRI จัดทำ cross section เพื่อหาระยะทางในแนวดิ่งจากบนเขาถึงพื้นถ้ำ/ความหนาของผนังถ้ำเพื่อการเจาะแนวข้าง
- กรมทรัพยากรน้ำบาดาล มีเครื่องมือสำรวจแบบหยั่งลงตามปล่อง มีความยาวประมาณ 200 เมตร
- สำรวจ resistivity
📑พื้นที่ ค สำรวจ/เจาะปลายถ้ำบริเวณน้ำมุด จุด ค3 และจุด ค2
- ประสานงานในพื้นที่
- ESRI จัดทำ cross section เพื่อหาระยะทางในแนวดิ่งจากบนเขาถึงพื้นถ้ำ/ความหนาของผนังถ้ำเพื่อการเจาะแนวข้าง
สถานการณ์การปฏิบัติงานในพื้นที่
- เวลา 12.00 น. ปตท.สผ. พร้อมเครื่องมือ (ที่มา: twitter.com/mthai)
- โดรน เพื่อบินสำรวจพื้นที่โดยรอบ ทำแผนที่ 3D อย่างละเอียด (Sensor Zoom 30x, Thermal camera)
- หุ่นยนต์ใต้น้ำอัตโนมัติ
- หุ่นยนต์ใต้น้ำกึ่งอัตโนมัติ มีขนาดเล็กเอาใช้ทางภาคพื้นดินเพื่อสำรวจโพรงถ้ำ
- เวลา 13.16 น. หน่วยซีลแบ่งทีมงานเป็น 2 ทีม ทีมแรกสแตนด์บายหน้าถ้ำ รอน้ำลด เนื่องจากฝนตกต่อเนื่อง ระดับน้ำขึ้นเร็วปิดโพรงถ้ำทั้งหมดทีมที่2ขึ้นสำรวจบนภูเขาหาช่องทางอื่นที่อาจนำเข้าไปถึงตำแหน่งที่คาดว่าเด็ก(ที่มา: Short new)
- เวลา 14.00 น. ระดับน้ำขณะนี้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่เจ้าหน้าที่สามารถสูบน้ำออกจากถ้ำได้แล้วหลังจากยุติการสูบน้ำเมื่อช่วงกลางดึกที่ผ่านมา(ที่มา: pptvhd36)
- เวลา 14.00 น. มท.1 แถลงข่าวสรุปแนวทางการช่วยเหลือ ดังนี้
- การเจาะผนังด้านข้างของถ้ำ
- การเข้าไปสำรวจส่วนท้ายของถ้ำ ที่เป็นช่องทางน้ำไหลออก